วันจันทร์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555

แนวข้อสอบพนักงานกรมศิลปากรทุกตำแหน่ง


1. ข้าราชการพลเรือน  ตามกฎหมายใหม่  มีกี่ประเภท  ได้แก่
ก.  2  ประเภท  คือ  ข้าราชการพลเรือนสามัญ  และข้าราชการพลเรือนในพระองค์
ข.  3  ประเภท  คือ  ข้าราชการพลเรือนสามัญ  ข้าราชการพลเรือนในพระองค์  และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค.  4 ประเภท  คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ  ข้าราชการพลเรือนในพระองค์  และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษและข้าราชการตุลาการ
ง.  5  ประเภท คือ  ข้าราชการพลเรือนสามัญ  ข้าราชการพลเรือนในพระองค์  และข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ  ข้าราชการตุลาการ  และข้าราชการอัยการ


2. นายนิคม  อาการดี  รับราชการเป็นเจ้าพนักงานตรวจเงินแผ่นดินอยู่ที่จังหวัดสกลนคร  นายอาคมเป็นข้าราชการประเภทใด
ก.  ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ข.  ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค.  ข้าราชการอัยการ
ง.  ข้าราชการพลเรือสามัญ


3. ผู้อำนวยการสำนักงานงบประมาณ  เป็นข้าราชการประเภทใด
ก.  ข้าราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
ข.  ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
ค.  ข้าราชการกระทรวงการคลัง
ง.  ข้าราชการพลเรือนสามัญ

4. ข้อใดมิใช่ “ข้าราชการพลเรือน”
ก.  ข้าราชการในกระทรวงต่างประเทศ
ข.  ข้าราชการในกระทรวงกลาโหม
ค.  ข้าราชการในกระทรวงมหาดไทย
ง.  ข้าราชการอัยการ

5. ข้อใดมิใช่ “ข้าราชการพลเรือน”
ก.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ข.  ข้าราชการปกครอง
ค.  ข้าราชการตำรวจ
ง.  ถูกทุกข้อ


6. ตำแหน่งใดเทียบเท่าตำแหน่ง “อธิบดี”
ก.  เลขนุการ ก.พ.                                                                
ข.  ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
ค.  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี                                               
ง.  ถูกทุกข้อ

7. หน่วยงานใดต่อไปนี้ที่มีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ก.  สำนักข่าวกรองแห่งชาติ                                              
ข.  สำนักงบประมาณ
ค.  สำนักคณะกรรมการการกฤษฎีกา                              
ง.  ถูกทุกข้อ

8. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.  2551 คือ
ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                 
ข.  เลขาธิการ ก.พ.
ค.  รองนายกรัฐมนตรี                                                          
ง.  ประธานกรรมการ ก.พ.

9. ก.พ.  ประกอบด้วยกรรมการไม่เกินกี่คน
ก.  3  คน                                                                                 
ข.  5  คน
ค.  7  คน                                                                                 
ง.  12  คน


10. ผู้ใดดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ก.พ.
ก.  รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย
ข.  รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค.  รัฐมนตรีสำนักงานนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรี
ง.  เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


11. กรรมการ ก.พ.  ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  แต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก.  2  ปี                                                                                   
ข.  3  ปี
ค.  4  ปี                                                                                    
ง.   5 ปี

12. เมื่อตำแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกำหนดต้องดำเนินการแต่งตั้งภายในกี่วัน
ก.  30  วัน                                                                               
ข.  15 วัน
ค.  20 วัน                                                                                
ง.  45 วัน

13. หากกรรมการ ก.พ. ว่างลงจะไม่แต่งตั้งกรรมการ ในกรณีใด
ก.  วาระของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 60 วัน                    
ข.  วาระของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง 90วัน
ค.  วาระกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง  120  วัน                        
ง.  วาระกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง  180 วัน


14. เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับรายงานจาก ก.พ. ในกรณีที่กระทรวงทบวงกรมไม่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน  และนายกรัฐมนตรีไม่เห็นด้วยกับมติของ ก.พ. ที่รายงาน ก.พ.  จะต้องดำเนินการอย่างไร
ก.  ทำตามความเห็นของนายกรัฐมนตรี
ข.  ยืนยันให้นายกรับมนตรีทบทวนใหม่
ค.  ต้องรายงานให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาวินิจฉัย
ง.  เรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อขอถอนเรื่องกลับมาพิจารณาข้อมูลใหม่


15. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่รายงานคณะรัฐมนตรีในกรณีที่ค่าครองชีพเปลี่ยนแปลงไปมาก  หรือจัดการสวัสดิการปรับปรุงเงินเดือนสำหรับข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม
ก.  กรมบัญชีกลาง
ข.  ก.พ.
ค.  สำนักงบประมาณ
ง.  สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


16. การประชุม ก.พ.  ต้องมีจำนวนกรรมการประชุมจำนวนเท่าใดของจำนวนกรรมการทั้งหมด  จึงจะเป็นองค์ประชุม
ก.   ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่                                                     
ข.  ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ค.   ไม่น้อยกว่าสามในสี่                                                      
ง.  ไม่น้อยกว่าสองในสาม


17. คณะกรรมการิสามัญ ซึ่งตั้งขึ้นโดย ก.พ.  มีหน้าที่อย่างไร
ก.  เพื่อทำการใดๆแทน ก.พ. ได้                                        
ข.  พิจารณาเรื่องการดำเนินการทางวินัย
ค.  พิจารณาอุทธรณ์ หรือการร้องทุกข์                              
ง.  เพื่อการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการพลเรือน


18. ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบริหารราชการสำนักงาน ก.พ. คือ
ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                 
ข.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค.  เลขาธิการ ก.พ.                                                                
ง.  เลขาธิการสำนักนายกรัฐมนตรี


19. ผู้บังคับบัญชาทำหน้าที่บริหารราชการของสำนักงาน ก.พ. ขึ้นตรงต่อผู้ใด
ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                 
ข.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี                          
ง.  รัฐมนตรีทบวงมหาวิทยาลัย


20. อนุกรรมการกระทรวง  ประกอบด้วยผู้ใดบ้าง
ก.  รัฐมนตรีเจ้าสังกัด  และปลัดกระทรวง
ข.  อนุกรรมการผู้แทน  ก.พ.  และผู้ทรงคุณวุฒิ
ค.  อนุกรรมการผู้แทนข้าราชการ
ง.  ถูกทุกข้อ


21. ส่วนราชการใด ที่มิได้ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ก.  สำนักงาน ก.พ.
ข.  สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ค.  สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งชาติ
ง.  สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

22. อนุกรรมการ ก.พ. สามัญ มีกี่ประเภท  อะไรบ้าง
ก.  3 ประเภท คือ อ.ก.พ.  กระทรวงทบวง  อ.ก.พ.  กรม  และ อ.ก.พ.  จังหวัด
ข.  4 ประเภท คือ อ.ก.พ.  กระทรวงทบวง  อ.ก.พ.  กรม  จังหวัด  และ อ.ก.พ.  ส่วนราชการอื่น
ค.  5 ประเภท คือ   อ.ก.พ.  กระทรวงทบวง  อ.ก.พ.  ทบวง กรม อ.ก.พ.  ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม  และ อ.ก.พ. จังหวัด
ง.  5 ประเภท  คือ อ.ก.พ. กระทรวง  อ.ก.พ.  ทยวง  อ.ก.พ.  สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ  อ.ก.พ.  กรม  อ.ก.พ.  สำนักนายกรัฐมนตรี


23. การตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญเพื่อทำหน้าที่พิจารณาเมื่อใด
ก.  การออกจากราชการ                                                       
ข.  การดำเนินการทางวินัย
ค.  การอุทธรณ์                                                                      
ง.  ถูกทุกข้อ

24. อ.ก.พ. จังหวัด มีผู้ใดเป็นประธาน
ก.  นายกเทศมนตรี                                                               
ข.  ประธานสภาจังหวัด
ค.  ผู้ว่าราชการจังหวัด                                                         
ง.  ปลัดจังหวัด


25. ประธาน อ.ก.พ.  กรม คือใคร
ก.  ปลัดกระทรวง                                                                  
ข.  รัฐมนตรีว่าการทบวง
ค.  อธิบดี                                                                                 
ง.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

26. บุคคลในข้อใดไม่สามารถเป็นประธาน อ.ก.พ. สำนักนายรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนได้
ก.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี                                              
ข.  นายกรัฐมนตรี
ค.  รองนายกรัฐมนตรี                                                          
ง.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี


27. ส่วนราชการใดที่มี อ.ก.พ. เดียว ทำหน้าที่ทั้ง อ.ก.พ. กระทรวงและ อ.ก.พ. กรม ด้วย
ก.  ทบวงมหาวิทยาลัย                                                          
ข.  ราชบัณฑิตยสถาน
ค.  สำนักพระราชวัง                                                            
ง.  สำนักงานอัยการสูงสุด


28. ราชบัณฑิตยสถาน เป็นส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมไม่สังกัดกระทรวงหรือทบวง   อยู่ในบังคับบัญชาของใคร
ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                 
ข.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ                           
ง.  รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย

29.   พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ให้ไว้เมื่อใด
ก.  29 มีนาคม 2551                                                              
ข.  23 มกราคม 2551
ค.  28 มิถุนายน  2551                                                          
ง.  27  เมษายน 2551


30. ใครเป็นผู้รับผิดชอบกำหนดนโยบายและระบบบริหารงานบุคคลตลอดจนระเบียบวิธีปฏิบัติราชการในจังหวัด
ก.  ผู้ว่าราชการจังหวัด                                                         
ข.  อ.ก.พ. จังหวัด
ค.  อ.ก.พ. กรมการปกครอง                                                 
ง.  สภาจังหวัด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น